Tuesday, September 28, 2010 | By: krisda kunthon

การจูงใจในชั้นเรียน

สาระสำคัญ

การจูงใจในชั้นเรียนขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายประการที่ครูจะต้องพิจารณา ได้แก่ บุคลิกภาพ พฤติกรรมการสอน เทคนิคการปกครองชั้นเรียนและปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน โดยมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้

1. บุคลิกภาพของครู สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย การยืน การเดน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา เหมาะสมกับการเป็นครู จะช่วยส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ได้ ดี บุคลิกภาพของครูมีผลต่อความรู้สึกของนักเรียน

2. พฤติกรรมการสอนของครู พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่นักเรียน เช่นเดียวกับบุคลิกภาพของครู ในการสอนครูต้องใช้ เทคนิคและทักษะการสอนที่สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นัก เรียนเกิดความรู้ เจตคติ และทักษะตามที่หลักสูตรกำหนด

3.เทคนิคการปกครองชั้นเรียนของครู เทคนิคหรือวิธีการที่ครูใช้ปกครองชั้นเรียนมีส่วนส่งเสริมในการสร้างบรรยากาศทางจิตวิทยากล่าวคือ ถ้าครูปกครองชั้นเรียน ด้วยความยุติธรรม ยึดหลักประชาธิปไตย ใช้ระเบียบกฎเกณฑ์ที่ทุกคนยอม รับ ยินดีปฏิบัติ นักเรียนก็จะอยู่ในห้องเรียนอย่างมีความสุข เกิดความรู้สึกอบอุ่นพอใจและสบายใจ ในทางตรงกันข้าม ถ้าครูโลเล ไม่ยุติธรรม เลือกที่รักมักที่ชัง ปกครองชั้นเรียนแบบเผด็จการ นักเรียนจะเกิดความรู้สึกไม่ศรัทธาครู ไม่เห็นคุณค่าของระเบียบ กฎเกณฑ์ ส่งผลให้นักเรียนไม่สนใจเรียน ไม่อยากมาโรงเรียนในที่สุด ดังนั้น เทคนิควิธีการปกครองชั้นเรียนของครูจึงมีความสำคัญต่อการสร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาด้วย

4. ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน ปฏิสัมพันธ์ ( interaction) หมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคล 2 คน หรือบุคคล 2 ฝ่าย โดยต่างฝ่ายต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน การสร้างปฏิสัมพันธ์ทางวาจานั้นควรใช้อิทธิพลทางอ้อม (Indirect Influence) ซึ่ง หมายถึง พฤติกรรมทางวาจาที่ครูกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น เช่น ครู ยอมรับความรู้สึกของนักเรียน ครูชมเชยสนับสนุนให้กำลังใจ ครูยอมรับหรือนำ ความคิดเห็นของนักเรียนมาใช้ ครูถามเพื่อให้นักเรียนตอบ ฯลฯ โดยครูหลีก เลี่ยงการใช้อิทธิพลทางตรง  (Direct Influence) ซึ่งหมายถึง พฤติกรรมที่ครูแสดงฝ่ายเดียว เช่น ครูบรรยาย ครูสั่งการ ครูวิจารณ์ ฝ่ายเดียว ฯลฯ ดังนั้น ครูควรสร้างปฏิสัมพันธ์ทางวาจาโดยใช้อิทธิพลทางอ้อม เพื่อส่งผลดีต่อการเรียนการสอน

โดยสรุปแล้ว การจูงใจในชั้นเรียนมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกที่ดี ต่อการเรียนการสอนและเกิดความศรัทธาในครูผู้สอน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างบรรยากาศทางจิตวิทยา โดยปรับบุคลิกภาพความ เป็นครูให้เหมาะสมปรับพฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

สรุปและปรับปรุงจาก http://www.novabizz.com/NovaAce/Motives.htm

สื่อประกอบการเรียน

วีดีโอ

        2005_youtube2                  2005_youtube2                 2005_youtube2                      2005_youtube2  

การจูงใจในชั้นเรียน           มุมมองสำหรับครู        ขอบคุณครูด้วยดวงใจ         มุมมองจากผู้เรียน

สไลด์

slide       slide        slide     slide

ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21      การใช้web2.0ในชั้นเรียน       การสร้างแรงจูงใจทางบวก    web2.0 สู่การเรียนการสอน

เว็บเพจ

     www               www                  www              www

           การจูงใจ                          การจัดการชั้นเรียน              การจัดการชั้นเรียน         การบริหารจัดการชั้นเรียน

PDF

PDF              PDF             PDF               PDF 

    ครูมืออาชีพ                การจัดการชั้นเรียน     การบริหารห้องเรียน     การจัดชั้นเรียนของครูเอกชน

คำถามประกอบการอ่าน

1.องค์ประกอบที่สำคัญของการจูงใจผู้เรียนมีอะไรบ้าง

2.จงอธิบายสาระสำคัญของการจูงใจในชั้นเรียนในแต่ละองค์ประกอบ

ทั้งนี้ขอให้เขียนสรุปสาระสำคัญของคำถามในแต่ละข้อ ส่งครูทาง e-mail : eduyru@gmail.com หากมีข้อสงสัยหรือต้องการสอบถามประเด็นต่าง ๆ ขอให้คุยได้ทาง chatroom ที่อยู่หน้าเว็บบล๊อกนี้

0 comments:

Post a Comment

Tuesday, September 28, 2010

การจูงใจในชั้นเรียน

Posted by krisda kunthon at 7:55 AM

สาระสำคัญ

การจูงใจในชั้นเรียนขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายประการที่ครูจะต้องพิจารณา ได้แก่ บุคลิกภาพ พฤติกรรมการสอน เทคนิคการปกครองชั้นเรียนและปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน โดยมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้

1. บุคลิกภาพของครู สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย การยืน การเดน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา เหมาะสมกับการเป็นครู จะช่วยส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ได้ ดี บุคลิกภาพของครูมีผลต่อความรู้สึกของนักเรียน

2. พฤติกรรมการสอนของครู พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่นักเรียน เช่นเดียวกับบุคลิกภาพของครู ในการสอนครูต้องใช้ เทคนิคและทักษะการสอนที่สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นัก เรียนเกิดความรู้ เจตคติ และทักษะตามที่หลักสูตรกำหนด

3.เทคนิคการปกครองชั้นเรียนของครู เทคนิคหรือวิธีการที่ครูใช้ปกครองชั้นเรียนมีส่วนส่งเสริมในการสร้างบรรยากาศทางจิตวิทยากล่าวคือ ถ้าครูปกครองชั้นเรียน ด้วยความยุติธรรม ยึดหลักประชาธิปไตย ใช้ระเบียบกฎเกณฑ์ที่ทุกคนยอม รับ ยินดีปฏิบัติ นักเรียนก็จะอยู่ในห้องเรียนอย่างมีความสุข เกิดความรู้สึกอบอุ่นพอใจและสบายใจ ในทางตรงกันข้าม ถ้าครูโลเล ไม่ยุติธรรม เลือกที่รักมักที่ชัง ปกครองชั้นเรียนแบบเผด็จการ นักเรียนจะเกิดความรู้สึกไม่ศรัทธาครู ไม่เห็นคุณค่าของระเบียบ กฎเกณฑ์ ส่งผลให้นักเรียนไม่สนใจเรียน ไม่อยากมาโรงเรียนในที่สุด ดังนั้น เทคนิควิธีการปกครองชั้นเรียนของครูจึงมีความสำคัญต่อการสร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาด้วย

4. ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน ปฏิสัมพันธ์ ( interaction) หมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคล 2 คน หรือบุคคล 2 ฝ่าย โดยต่างฝ่ายต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน การสร้างปฏิสัมพันธ์ทางวาจานั้นควรใช้อิทธิพลทางอ้อม (Indirect Influence) ซึ่ง หมายถึง พฤติกรรมทางวาจาที่ครูกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น เช่น ครู ยอมรับความรู้สึกของนักเรียน ครูชมเชยสนับสนุนให้กำลังใจ ครูยอมรับหรือนำ ความคิดเห็นของนักเรียนมาใช้ ครูถามเพื่อให้นักเรียนตอบ ฯลฯ โดยครูหลีก เลี่ยงการใช้อิทธิพลทางตรง  (Direct Influence) ซึ่งหมายถึง พฤติกรรมที่ครูแสดงฝ่ายเดียว เช่น ครูบรรยาย ครูสั่งการ ครูวิจารณ์ ฝ่ายเดียว ฯลฯ ดังนั้น ครูควรสร้างปฏิสัมพันธ์ทางวาจาโดยใช้อิทธิพลทางอ้อม เพื่อส่งผลดีต่อการเรียนการสอน

โดยสรุปแล้ว การจูงใจในชั้นเรียนมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกที่ดี ต่อการเรียนการสอนและเกิดความศรัทธาในครูผู้สอน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างบรรยากาศทางจิตวิทยา โดยปรับบุคลิกภาพความ เป็นครูให้เหมาะสมปรับพฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

สรุปและปรับปรุงจาก http://www.novabizz.com/NovaAce/Motives.htm

สื่อประกอบการเรียน

วีดีโอ

        2005_youtube2                  2005_youtube2                 2005_youtube2                      2005_youtube2  

การจูงใจในชั้นเรียน           มุมมองสำหรับครู        ขอบคุณครูด้วยดวงใจ         มุมมองจากผู้เรียน

สไลด์

slide       slide        slide     slide

ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21      การใช้web2.0ในชั้นเรียน       การสร้างแรงจูงใจทางบวก    web2.0 สู่การเรียนการสอน

เว็บเพจ

     www               www                  www              www

           การจูงใจ                          การจัดการชั้นเรียน              การจัดการชั้นเรียน         การบริหารจัดการชั้นเรียน

PDF

PDF              PDF             PDF               PDF 

    ครูมืออาชีพ                การจัดการชั้นเรียน     การบริหารห้องเรียน     การจัดชั้นเรียนของครูเอกชน

คำถามประกอบการอ่าน

1.องค์ประกอบที่สำคัญของการจูงใจผู้เรียนมีอะไรบ้าง

2.จงอธิบายสาระสำคัญของการจูงใจในชั้นเรียนในแต่ละองค์ประกอบ

ทั้งนี้ขอให้เขียนสรุปสาระสำคัญของคำถามในแต่ละข้อ ส่งครูทาง e-mail : eduyru@gmail.com หากมีข้อสงสัยหรือต้องการสอบถามประเด็นต่าง ๆ ขอให้คุยได้ทาง chatroom ที่อยู่หน้าเว็บบล๊อกนี้

0 comments on "การจูงใจในชั้นเรียน"

Post a Comment